ทั้งนี้ ควรมีการเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ด้วย (1) ข้อมูลเกี่ยวกับค่าความผันผวน (volatility) ที่ บล. ใช้เป็นปัจจัยในการกำหนดราคาขาย DW และค่าความผันผวนแฝง (implied
“ThaID” ระบบ “Mobile ID” และระบบ“FVS”1 ประกอบกับมีการปรับปรุงข้อเสนอแนะมาตรฐานด้านการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัล2 เพื่อให้ผู้ประกอบธุรกิจมีความเข้าใจที่ตรงกัน
สั่งโดยวิธีการที่บริษัทกำหนด เช่น email / LINE official / IP phone divert call จากระบบกลาง เป็นต้น โดยในกรณีที่ไม่สามารถบันทึกเสียงได้ ต้องดำเนินการอื่นเพิ่มเติมเพื่อป้องกันการปฏิเสธหรือการโต้แย้งจาก
หรือเรียกหลักประกันการซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่ได้มาตรฐานสากล โดยต้องคำนวณมูลค่าหลักประกันที่ต้องดำรงไว้ทุกวันตามความผันผวนของราคาและฐานะสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของสมาชิกและลูกค้า (volatility
หลักประกันที่ต้องดำรงไว้ทุกวันตามความผันผวนของราคาและฐานะสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของสมาชิกและลูกค้า (volatility based margining) และต้องเรียกให้สมาชิกวางหลักประกันล่วงหน้าเพื่อรองรับการ
) chatbot สำหรับกรณีที่ผู้ลงทุนซื้อขายผ่าน mobile application หรือ internet trading หรือ (3) infographics เพื่อให้คนขายและผู้ลงทุนมีความเข้าใจด้วยรูปภาพและภาษาที่เข้าใจง่าย เป็นต้น 3
จัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลเปรียบเทียบค่าความผันผวนแฝง (implied volatility) ของใบสำคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ที่ได้รับอนุญาต กับค่าความผันผวนในอดีต (historical volatility) ของหลักทรัพย์อ้างอิง ไว้บนเว็บไซต์ของ
ความผันผวนแฝง (implied volatility) ของใบสำคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ที่ได้รับอนุญาต กับค่าความผันผวนในอดีต (historical volatility) ของหลักทรัพย์อ้างอิง ไว้บนเว็บไซต์ของผู้ได้รับอนุญาตเป็นรายวันอย่างต่อเนื่อง