underlying asset ซึ่งในที่นี้คือหน่วยลงทุนในจำนวนที่เท่ากับ (1 – option delta) คูณ current value ของ underlying asset และทำการ short zero-coupon bond มี่มีอายุคงเหลือเท่ากับอายุคงเหลือของ option และมี
สร้างคุณค่าของห่วงโซ่ทางธุรกิจ (value chain) และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้มีส่วนได้เสียในการประกอบธุรกิจแล้ว ยังจะเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมการขับเคลื่อนธุรกิจเพื่อความยั่งยืนของบริษัทจดทะเบียน
ขายล่วงหน้า และตราสารที่มีสัญญาซื้อขายล่วงหน้าแฝงอยู่ เป็นต้น (1. หนังสือเวียนที่ กลต.กน.(ว) 1/2559 กำหนดให้ บลจ. ต้องคำนวณฐานะการลงทุนโดยใช้วิธี VaR (value-at-risk) approach ในกรณีที่
(1) กองทุนรวมต้องมีลักษณะเป็นไปตาม Memorandum of Cooperation on the Establishment and Implementation of the Asia Region Funds Passport (“MOC”) (2) บลจ. ได้
Schemes (ASEAN CIS) หรือ Memorandum of Cooperation on the Establishment and Implementation of the Asia Region Funds Passport (ARFP) ข้อ 6 เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับประเทศที่
อ้างอิงมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ (“Net Asset Value”: “NAV”) ณ สิ้นเดือน เป็น NAV ณ วันที่ทำธุรกรรม เพื่อให้การเทียบสัดส่วนมูลค่าซื้อขายต่อ NAV สะท้อนถึงข้อมูลการทำธุรกรรมที่เกิดขึ้นจริงในขณะนั้นยิ่งขึ้น และผู้
ธุรกรรมที่เป็นการลงทุนแบบซับซ้อนในสัญญาซื้อขายล่วงหน้าและมีมูลค่าความเสียหายสูงสุด (value-at-risk : VaR) ที่เกิดจากการทำธุรกรรมตามวรรคหนึ่ง (1) (2) หรือ (3) รวมกันดังนี้  
; นอกจากนี้ สามารถเสนอขายหน่วยลงทุนเพิ่มเติมได้ระหว่างอายุกองทุน โดยจะต้องแยก (set aside) ตราสารหนี้ด้อยคุณภาพ (“distressed bond”) ซึ่งไม่สามารถหามูลค่ายุติธรรม (fair value) ได้ ออกจากการคำนวณ
ทรัพย์ฯ รายวัน (required securities value) และการอนุญาตให้บริษัทจัดการยังไม่ต้องเรียกเงินหรือหลักทรัพย์ฯ เพิ่มเติม หากมูลค่าลดลงอย่างไม่มีนัยสำคัญ (margin threshold) (1) แก้ไขหลักเกณฑ์
ลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) การทำธุรกรรมที่เป็นการลงทุนแบบซับซ้อนในสัญญาซื้อขายล่วงหน้าและมีมูลค่าความเสียหายสูงสุด (value-at-risk : VaR) ที่เกิดจากการทำธุรกรรมตามวรรคหนึ่ง (1) (2) (3