underlying asset ซึ่งในที่นี้คือหน่วยลงทุนในจำนวนที่เท่ากับ (1 – option delta) คูณ current value ของ underlying asset และทำการ short zero-coupon bond มี่มีอายุคงเหลือเท่ากับอายุคงเหลือของ option และมี
สร้างคุณค่าของห่วงโซ่ทางธุรกิจ (value chain) และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้มีส่วนได้เสียในการประกอบธุรกิจแล้ว ยังจะเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมการขับเคลื่อนธุรกิจเพื่อความยั่งยืนของบริษัทจดทะเบียน
ขายล่วงหน้า และตราสารที่มีสัญญาซื้อขายล่วงหน้าแฝงอยู่ เป็นต้น (1. หนังสือเวียนที่ กลต.กน.(ว) 1/2559 กำหนดให้ บลจ. ต้องคำนวณฐานะการลงทุนโดยใช้วิธี VaR (value-at-risk) approach ในกรณีที่
เกิดใหม่ หรือธุรกิจที่ต้องอาศัยนวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือธุรกิจ creative ให้มีโอกาสได้รับการสนับสนุนด้านเงินทุนจากผู้ลงทุนที่สนใจ และพัฒนากิจการให้เติบโตขึ้นจนกระทั่งมีความพร้อมที่จะเข้า
อ้างอิงมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ (“Net Asset Value”: “NAV”) ณ สิ้นเดือน เป็น NAV ณ วันที่ทำธุรกรรม เพื่อให้การเทียบสัดส่วนมูลค่าซื้อขายต่อ NAV สะท้อนถึงข้อมูลการทำธุรกรรมที่เกิดขึ้นจริงในขณะนั้นยิ่งขึ้น และผู้
ธุรกรรมที่เป็นการลงทุนแบบซับซ้อนในสัญญาซื้อขายล่วงหน้าและมีมูลค่าความเสียหายสูงสุด (value-at-risk : VaR) ที่เกิดจากการทำธุรกรรมตามวรรคหนึ่ง (1) (2) หรือ (3) รวมกันดังนี้  
; นอกจากนี้ สามารถเสนอขายหน่วยลงทุนเพิ่มเติมได้ระหว่างอายุกองทุน โดยจะต้องแยก (set aside) ตราสารหนี้ด้อยคุณภาพ (“distressed bond”) ซึ่งไม่สามารถหามูลค่ายุติธรรม (fair value) ได้ ออกจากการคำนวณ
ทรัพย์ฯ รายวัน (required securities value) และการอนุญาตให้บริษัทจัดการยังไม่ต้องเรียกเงินหรือหลักทรัพย์ฯ เพิ่มเติม หากมูลค่าลดลงอย่างไม่มีนัยสำคัญ (margin threshold) (1) แก้ไขหลักเกณฑ์
ลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) การทำธุรกรรมที่เป็นการลงทุนแบบซับซ้อนในสัญญาซื้อขายล่วงหน้าและมีมูลค่าความเสียหายสูงสุด (value-at-risk : VaR) ที่เกิดจากการทำธุรกรรมตามวรรคหนึ่ง (1) (2) (3
บริษัทจัดการต้องคำนวณราคาขายหน่วยลงทุนของ class ดังกล่าว โดยใช้มูลค่าทรัพย์สินของกองทุนรวม (Asset value) หรือมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนรวม (Net Asset Value) เป็นเกณฑ์ (ข้อ 43/4 ของประกาศที่ สข/น. 1/2549