ลักษณะของการจัดการเงินทุนระหว่างคู่สัญญาซึ่งเป็นนิติบุคคลในกลุ่มกิจการเดียวกัน ตามข้อ 1(1) แห่งประกาศ กน. 22/2552 ซึ่งบริษัทแม่สามารถบริหาร proprietary trading ให้ บลจ. ได้ โดยไม่ถือเป็นการประกอบธุรกิจ
จัดการลงทุนเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินของบริษัทจัดการ (proprietary trading) ด้วยตนเอง) ตามที่สำนักงานได้ออกแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับระบบงานในการป้องกันการกระทำที่อาจก่อ
ประเทศ เฉพาะที่เป็น feeder fund และ fund of fundsและนโยบายในการป้องกันผู้ลงทุนซื้อขายหน่วยลงทุนถี่เกินไป (Excessive Trading Policy) ตามที่สมาคมบริษัทจัดการลงทุน (“สมาคม&rdquo
; หลักเกณฑ์ปัจจุบัน อนุญาตให้ผู้ที่จะจำหน่าย จ่าย โอน หรือให้สิทธิในทรัพย์สินกิจการ โครงสร้างพื้นฐาน (sponsor) ให้แก่กองทุนรวม สามารถได้รับการจัดสรรหน่วยลงทุนโดยไม่ต้องใช้วิธี small lot
หนึ่ง เช่น ตราสารทุน และได้ลงทุนในหน่วย infra หรือหน่วย property ที่ผู้ออกตราสารข้างต้นเป็น fund sponsor ด้วยนั้น ตามหลักเกณฑ์เดิม ให้นับรวมเป็น single entity limit เดียวกัน เช่น Retail MF ลงทุนทั้งตราสาร
ให้เช่า หรือให้สิทธิในอสังหาริมทรัพย์แก่กองทรัสต์ (Sponsor) ในลักษณะที่อาจเป็นเหตุให้ผู้ขออนุญาตไม่สามารถทำหน้าที่ได้อย่างเป็นอิสระในการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหน่วยทรัสต์ และการตรวจสอบและสอบ
ที่ 2) (กรณีที่บริษัทจัดการลงทุนเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินของบริษัทจัดการ (proprietary trading) ด้วยตนเอง) ตามหนังสือที่ กลต.น. (ว) 5 /2550 เรื่อง แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับระบบงานในการป้องกัน
จัดการแต่ละแห่งอาจถือได้ว่าเป็นการลงทุนเพื่อเป็นทรัพย์สินของผู้ประกอบธุรกิจ (proprietary trading) ตามประกาศ สธ.15/2558 เพราะเป็นการที่ บริษัทจัดการลงทุน / บริหารเงินเพื่อตนเอง ซึ่งบริษัทจัดการย่อมมีหน้าที่
Trading Commission ของสหรัฐอเมริกา (US CFTC) ได้เริ่มเปิดให้บริการซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่อ้างอิงสกุลเงินดิจิทัล (Bitcoin futures) ตั้งแต่เดือนธันวาคมที่ผ่านมา นั้น สำนักงานขอกำชับให้ผู้
ที่ออกโดยบริษัทแม่ จึงไม่ใช่การให้กู้ยืมเงินปกติ แต่การที่บริษัทหลักทรัพย์ไปลงทุนในตั๋วเงินนั้นต้องพิจารณาข้อกำหนดเกี่ยวกับ หลักเกณฑ์เรื่อง proprietary trading (ตามข้อ 12(8) และข้อ 25 ของ ทธ. 35/2556