ผู้แนะนำการลงทุนตราสารทั่วไป
/> ที่ กลต.นจ.(ว) 47 /2564 เรื่อง สรุปผลโครงการ supervisory stress test ประจำปี 2564 ตามที่สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ร่วมกับบริษัทหลักทรัพย์ และบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เปิดตัวโครงการ “supervisory stress test” ประจำปี 2566 เพื่อเป็นพื้นที่สำหรับผู้
ภาวะวิกฤต (stress test) เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทหลักทรัพย์จะมีเงินกองทุนที่เพียงพอรองรับให้สามารถประกอบธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง และกองทุนรวมจะสามารถบริหารจัดการสภาพคล่อง มีการใช้เครื่องมือบริหารสภาพคล่อง
ก.ล.ต. อำนวยความสะดวกแก่ผู้ออกตราสารหนี้ (issuer) ให้สามารถออกและเสนอขายตราสารหนี้ได้สะดวก รวดเร็ว และสอดคล้องกับแนวปฏิบัติของสากล นายรพี สุจริตกุล เลขาธิการ ก.ล.ต. เปิดเผยว่า คณะกรรมการกำกับตลาดทุน
ดำเนินธุรกิจได้สะดวกมากขึ้น อาทิ ยกเลิกหลักเกณฑ์ที่กำหนดให้ต้องขายกองทุนรวมของ บลจ. หลายแห่ง และยกเว้นการใช้ชื่อ “บริษัทหลักทรัพย์” สำหรับผู้ที่มีการประกอบธุรกิจอื่นอยู่แล้วนอกจากนี้ เพื่อเป็นการคุ้มครอง
ผู้ประกอบธุรกิจในปัจจุบัน และรายใหม่นำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้สะดวกยิ่งขึ้นก.ล.ต. มีแนวคิดที่จะปรับปรุงประกาศที่เป็นหลักเกณฑ์เกี่ยวกับระบบงานและการให้บริการของธุรกิจตัวกลาง ทั้งผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์
ต่อผู้ร้องเรียนเป็น 3 ระยะ คือ ในระหว่างดำเนินการ ในขั้นตอนการพิจารณา และเมื่อมีการดำเนินการตามกฎหมาย เพิ่มความสะดวกในการติดตามเรื่อง และในกรณีที่พบการดำเนินการล่าช้าเกินควรหรือเจ้าหน้าที่ให้บริการไม่
แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น สอดคล้องกับการที่ ก.ล.ต. ผ่อนคลายกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องมาอย่างต่อเนื่องเพื่ออำนวยความสะดวกการลงทุนต่างประเทศ ก.ล.ต. และสมาคมบริษัทหลักทรัพย์จึงร่วมกันปรุงแนวทางการปฏิบัติงานของสมาคมฯ
ก.ล.ต. เปิดรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับการแก้ไขหลักเกณฑ์เพื่อให้ผู้ลงทุนซื้อขายหน่วยลงทุนได้สะดวกขึ้น เพื่อสร้างโอกาสแก่ประชาชนในการเข้าถึงและใช้ตลาดทุนไทยในการออมและลงทุนได้อย่างทั่วถึง