พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550”
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530”
พระราชกำหนดนี้เรียกว่า “พระราชกำหนดนิติบุคคลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ พ.ศ. 2550”
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546”
มาตรา 1 พระราชกำหนดนี้เรียกว่า “พระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561”
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535”
กองทุนประกอบด้วยทรัพย์สิน ดังต่อไปนี้ [2] (1) เงินสะสมและเงินสมทบ (2) เงินทุนสำรองเลี้ยงชีพลูกจ้างตามมาตรา ๖ วรรคสอง (3) 
ในกรณีที่เป็นกองทุนหลายนายจ้าง การคำนวณเงินผลประโยชน์เมื่อลูกจ้างสิ้นสมาชิกภาพ ให้ผู้จัดการกองทุนคำนวณเงินผลประโยชน์ของลูกจ้างดังกล่าวจากบัญชีส่วนได้เสียของบรรดาลูกจ้างที่มีนายจ้างรายเดียวกัน [2] ในกรณีที่เป็นกองทุนที่มีหลายนโยบายการลงทุน การคำนวณเงินผลประโยชน์ของลูกจ้างที่สิ้นสมาชิกภาพ ให้ผู้จัดการกองทุนคำนวณจากทรัพย์สินในบัญชีของนโยบายการลงทุนที่ลูกจ้างรายนั้นมีส่วนได้เสีย
ในกรณีที่เป็นกองทุนหลายนายจ้าง การคำนวณเงินผลประโยชน์เมื่อลูกจ้างสิ้นสมาชิกภาพ ให้ผู้จัดการกองทุนคำนวณเงินผลประโยชน์ของลูกจ้างดังกล่าวจากบัญชีส่วนได้เสียของบรรดาลูกจ้างที่มีนายจ้างรายเดียวกัน ในกรณีที่เป็นกองทุนที่มีหลายนโยบายการลงทุน การคำนวณเงินผลประโยชน์ของลูกจ้างที่สิ้นสมาชิกภาพ ให้ผู้จัดการกองทุนคำนวณจากทรัพย์สินในบัญชีของนโยบายการลงทุนที่ลูกจ้างรายนั้นมีส่วนได้เสีย
นิติบุคคลเฉพาะกิจจะดำเนินการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์หลายโครงการในขณะเดียวกันไม่ได้ เว้นแต่เป็นกรณีตามวรรคสอง [1] ในกรณีที่นิติบุคคลเฉพาะกิจดำเนินการโดยการก่อตั้งทรัสต์