เสี่ยงขององค์กร (enterprise risk) (ถ้ามี) ซึ่งอย่างน้อยต้องครอบคลุมในเรื่องดังนี้ 1.1 การกำหนดกรอบการกำกับดูแลด้าน IT (IT governance framework) และการกำกับดูแลแผนงานด้าน IT ให้สอดคล้องกับแผนทางธุรกิจ และมี
มั่นคงปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Security) ข้อ 2.2.2 การบริหารจัดการบุคคลภายนอก หน้า 1 7 ข้อ 2.5 การควบคุมการเข้าถึงข้อมูลและระบบ IT (access control) หน้า 31 ข้อ 2.5.3 กำหนด
system) เป็นต้น “ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ” (information technology risk) หมายความว่า ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยรวมถึงความเสี่ยงที่เกิดจากภัยคุกคามทาง ไซเบอร์ ซึ่งส่งผลอ
System) 2.6 นโยบายด้านการบริหารความเสี่ยงและการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Risk Management and Conflict of Interest Policies) 2.7 ระบบงานรองรับการประกอบธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง (BCP) 2.8 ระบบงานในการ
2 ภาคผนวก 3 [แนบท้ายประกาศที่ สธ. 38/2565] การรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Security) ขอบเขตการดำเนินการตามภาคผนวกนี้ 1. ผู้ประกอบธุรกิจที่มีความเสี่ยงระดับต่ำ
บริษัท (“CEO”) ผู้จัดการกองทุน (Fund Manager หรือ “FM”) .......... คน ผู้ปฏิบัติงานฝ่ายบริหารความเสี่ยงการลงทุนของกองทุน (Risk Manager หรือ “RM”) .......... คน ผู้ปฏิบัติงานฝ่ายกำกับดูแลการปฏิบัติงาน
ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง (“แบบรายงานผล IT Audit”) เพื่อให้ผู้ประกอบธุรกิจสามารถตรวจประเมิน การควบคุมด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงทาง IT (IT risk management) และการตอบสนองต่อภัยไซเบอร์อย่างเป็นระบบและมีมาตรฐาน
การควบคุมดูแลของผู้ประกอบธุรกิจ “แบบ RLA” (Risk Level Assessment) แบบการประเมินระดับความเสี่ยงเกี่ยวกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งส่งผล ต่อการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบธุรกิจที่กำหนดไว้บนเว็บไซต์ของสำนักงาน
มีวุฒิบัตรอย่างหนึ่งอย่างใดดังนี้ 1.2.1 Certified Information Systems Auditor (CISA) 1.2.2 Certified Information Security Manager (CISM) 1.2.3 Certified Information Systems Security Professional (CISSP
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการประกอบการ รวมถึงความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT risk) และความเสี่ยงด้านภัยคุกคามทางไซเบอร์ (cyber risk) ในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศที่สำคัญ (confidentiality