ตามแต่ละรายการ โดยการตรวจสอบมี 2 รูปแบบ ได้แก่ (1) การวัดการปฏิบัติตามข้อกำหนด (compliance check) (2) การวัดระดับความพร้อม (maturity level) (รายละเอียดตามข้อ 4.4 การตรวจสอบการควบคุม) 5 Finding สรุป
การควบคุมดูแลของผู้ประกอบธุรกิจ “แบบ RLA” (Risk Level Assessment) แบบการประเมินระดับความเสี่ยงเกี่ยวกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งส่งผล ต่อการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบธุรกิจที่กำหนดไว้บนเว็บไซต์ของสำนักงาน
หน้าของโครงการด้าน IT ในภาพรวมและโครงการที่สำคัญ (ง) การปฏิบัติงานด้าน IT ของบุคคลภายนอก เช่น ผลการดำเนินการตามข้อตกลงการให้บริการ (service level agreement) เป็นต้น (จ) ผลการทดสอบการปฏิบัติตามแผนฉุกเฉิน
ประเมินระดับความเสี่ยงเกี่ยวกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งส่งผลต่อการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบธุรกิจ ตามแบบ RLA (Risk Level Assessment) และจัดส่งผลการประเมินดังกล่าวต่อสำนักงาน ภายใน ไตรมาสที่ 4 ของทุกปี
คำอธิบายประกอบการจัดทำแบบ RLA (Risk Level Assessment) Version 1/2566 สำนักงาน ก.ล.ต. ได้กำหนดวิธีการประเมินระดับความเสี่ยงของผู้ประกอบธุรกิจขึ้น เพื่อให้ ผู้ประกอบธุรกิจสามารถจัดให้มีมาตรการรักษาความ
ระมัดระวัง (duty of loyalty and care) ☐ ให้ความสำคัญกับผลประโยชน์ของลูกค้าเหนือผลประโยชน์ของตนเอง ☐ ใช้ความรู้ความสามารถเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ ☐ มีความเป็นอิสระในการตัดสินใจลงทุน ☐ มีการกระจายการลงทุนเพื่อลด