ล่วงหน้า (derivative transaction) เพื่อกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ตามที่สำนักงานอนุญาตให้กองทุนสำรองเลี้ยงชีพสามารถลงทุนในสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (derivative transaction) ประเภทสัญญาฟิวเจอร์
จับคู่ธุรกรรมซื้อขายหลักทรัพย์ระหว่างกองทุน 2 กอง (“single transaction”) หรือธุรกรรมซื้อขายหลักทรัพย์ที่มีกองทุนที่เกี่ยวข้องมากกว่า 2 กองทุนขึ้นไป (“multiple transaction”) เพื่อให้ผู้ลงทุนและผู้ติดตาม
ที่ น.(ว) 27/2547 เรื่อง นำส่งรหัสผ่านเพื่อเข้าระบบ FTRS (Fund Transaction Reporting System) เพื่อรองรับการส่งข้อมูลกองทุนรวมในรูปแบบแฟ้มข้อความ ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2547 ความละเอียดแจ้งแล้ว นั้น
ธุรกรรมกับคู่ค้าทั่วไปที่มิได้มีความเกี่ยวข้องกันเป็นพิเศษ (at arm’s length transaction) และ (3) ในกรณีที่เป็นธุรกรรมระหว่างกองทุนด้วยกันเองซึ่งกองทุนเหล่านั้นอยู่ภายใต้การจัดการของ
เรื่อง การจัดทำระบบเพื่อรองรับการส่งข้อมูลกองทุนรวมในรูปแบบแฟ้มข้อความ ลงวันที่ 7 กรกฎาคม 2547 และที่ น.(ว) 27/2547 เรื่อง นำส่งรหัสผ่านเพื่อเข้าระบบ FTRS (Fund Transaction Reporting System) เพื่อรองรับการ
(transaction cost) ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรขาดทุน โดยมาตรฐาน TFRS 9 กำหนดให้บันทึกบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายทันที ซึ่งแตกต่างจากมาตรฐานการบัญชีในปัจจุบันที่บันทึกเป็นต้นทุนเงินลงทุนได้ ทำให้อาจมีผลกระทบต่อการคำนวณ
มีการแก้ไขและเพิ่มเติมหลักเกณฑ์การทำธุรกรรมเพื่อลูกค้ากับบุคคลที่เกี่ยวข้อง (Affiliated Transaction) ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้มีความชัดเจนและเหมาะสมยิ่งขึ้น ดังนี้ 2.1 ปรับปรุงแก้ไข
ระหว่างกองทุนที่อยู่ภายใต้การจัดการของบริษัทจัดการเดียวกัน (cross trade) มีเจตนารมณ์เพื่อช่วยประหยัด transaction cost ให้กับกองทุนที่ทำธุรกรรม อย่างไรก็ดี การทำธุรกรรมดังกล่าวยังคงต้องอยู่ภายใต้หลัก (1
) การทำธุรกรรมของกองทุนกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง (affiliated transaction) การรับผลประโยชน์ตอบแทนเนื่องจากการที่กองทุนใช้บริการบุคคลอื่น (soft commission) และการลงทุนเพื่อเป็นทรัพย์สินของพนักงาน (staff dealing
trading) ตามที่กำหนดในส่วนที่ 1 (2) การทำธุรกรรมของกองทุนกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง (affiliated transaction) ตามที่กำหนดในส่วนที่ 2