หลักทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ “ข้อ ๗/๑ ผู้ขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์แบบ จ ต้องเป็น (๑) บริษัทหลักทรัพย์ (๒) ธนาคารพาณิชย์ (๓) บริษัทประกันชีวิต (๔) สถาบันการเงินอื่นตามที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศก าหนด
สำคัญที่สามารถแก้ไขอุปสรรคการขาดแคลนเงินทุนทั้งระยะสั้นและ ระยะยาวของภาคธุรกิจต่าง ๆ 2. นิยามที่เกี่ยวข้อง (มาตรา 3 และมาตรา 9) 2.1 นิติบุคคลเฉพาะกิจ (Special Purpose Vehicle (SPV)) : บริษัทจำกัด บริษัท
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์เดิมที่กำหนดให้การจะก่อตั้งทรัสต์ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยทางอ้อมหามีผลไม่ อย่างไรก็ตาม หลักสำคัญของกฎหมายทรัสต์สอดคล้องกับการกำกับดูแลตลาดทุนหลายประการ เช่น หลักการบริหารจัดการทรัพย์สิน ด้วย
ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๑๒๒๙ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่ห้ามมิให้บริษัทจํากัดออกหุ้นกู้ มาใช้บังคับแก่บริษัทจํากัดที่ได้รับอนุญาตให้ออกหุ้นกู้ตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๓๘ มิให้นําบทบัญญัติมาตรา ๖๕๔
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งโดยผ่านการคัดเลือกตามที่ก าหนดในมาตรา ๓๑/๗ อีกไม่เกินสี่คน เป็นกรรมการ ทั้งนี้ ผู้ทรงคุณวุฒิอย่างน้อยสองคนต้องมีประสบการณ์ในการบริหารกิจการ บริษัทที่มีหลักทรัพย์จด
(แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๓๑/๗) (๗) ก าหนดให้ส านักงานด้วยความเหน็ชอบของคณะกรรมการ ก.ล.ต. มีอ านาจสั่งให้ กรรมการ ผู้บริหาร เลขานุการบริษัท หรือบุคคลใด ๆ จัดประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทจดทะเบียน ในกรณี ที่บริษัท
” หมายความว่า ผู้ลงทุนที่เป็นสถาบันการเงิน ตามกฎหมายว่าด้วยธนาคารพาณิชย์ บริษัทหลักทรัพย์ บริษัทประกันวินาศภัย บริษัทประกันชีวิต นิติบุคคลประเภทบรรษัท กองทุนรวม กองทุนส่วนบุคคล กองทุนบ าเหน็จบ านาญข้าราชการ
ก.ล.ต. กำหนดหลักเกณฑ์ · ต้องเป็นนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัด (ยกเว้นกรณีของที่ปรึกษาสัญญา ซื้อขายล่วงหน้าที่สามารถเป็นบุคคลธรรมดาก็ได้) · ต้องเป็นนิติบุคคลประเภทธนาคารพาณิชย์ บริษัทหลัก
เป็นบุคคล ธรรมดาก็ได้) • ต้องเป็นนิติบุคคลประเภทธนาคารพาณิชย์ บริษัทหลักทรัพย์ บริษัทเงินทุนหรือบริษัท เครดิตฟองซิเอร์ หรือ นิติบุคคลอื่นตามที่ คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกำหนด • มีการประกอบธุรกิจกับผู
ต่อส านักงาน ก.ล.ต. ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศก าหนด มาตรา ๑๒ ผู้ที่จะเป็นผู้ก่อตั้งทรัสต์ได้ต้องเป็นนิติบุคคลดังต่อไปนี้ (๑) บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ