ลงทุนในหุ้น M ในอัตราส่วน single entity limit ที่เกินจากประกาศที่ ทน. 87/2558 กำหนดที่ 10% แต่ยังสามารถถือครองทรัพย์สินดังกล่าวมาได้อย่างต่อเนื่องตามข้อ 113 ของประกาศที่ สน. 24/2552 และบทเฉพาะกาลของประกาศ
มาตรา/ชื่อกฎหมาย : มาตรา 117 แห่ง พ.ร.บ.หลักทรัพย์ฯ ข้อ/ประกาศ : ข้อ 18, 19 และ 26 แห่งประกาศ ทน. 87/2558 วันที่ถาม : 11/03/2562 วันที่ตอบ : 15/03/2562 คำถาม : ประเด็นที่ 1 กองทุนสำรองเลี้ยงชีพกลุ่มบริษัท ก มีสัดส่วนการลงทุนในหุ้นของบริษัท ก มหาชน ต่ำกว่า 15 % of NAV ตลอดมา จน ณ วันที่ 5 ก.ค. 2555 กองทุนมีการลงทุนในทรัพย์สินของนายจ้างหรือกลุ่มกิจการของนายจ้างเกิน 15% of NAV (15.45 % of NAV) ต่อมา ณ วันที่ 1 มี.ค. 2562 กองทุนสำรองเลี้ยงชีพมีสัดส่วนการลงทุนในหุ้...
โดยที่หลักเกณฑ์การคำนวณอัตราส่วนการลงทุนใน derivatives (global exposure limit)18 กำหนดวิธีการคำนวณเป็น 2 วิธี คือ (1) commitment approach และ (2) VaR (value-at-risk) approach
ทรัพย์ฯ รายวัน (required securities value) และการอนุญาตให้บริษัทจัดการยังไม่ต้องเรียกเงินหรือหลักทรัพย์ฯ เพิ่มเติม หากมูลค่าลดลงอย่างไม่มีนัยสำคัญ (margin threshold) (1) แก้ไขหลักเกณฑ์
; (ข) ต้องมีการลงทุนในทรัพย์สินประเภทและชนิดเดียวกับที่ MF PF หรือ PVD สามารถลงทุนได้ และต้องมี single entity limit (ตามวิธี pro rata) product limit สำหรับทรัพย์สิน ที่เป็น SIP
; นอกจากนี้ สามารถเสนอขายหน่วยลงทุนเพิ่มเติมได้ระหว่างอายุกองทุน โดยจะต้องแยก (set aside) ตราสารหนี้ด้อยคุณภาพ (“distressed bond”) ซึ่งไม่สามารถหามูลค่ายุติธรรม (fair value) ได้ ออกจากการคำนวณ
กองทุนอื่นได้ไม่เกินร้อยละ 25 ของจำนวนหน่วยลงทุนทั้งหมดของกองทุนอื่นนั้น (“concentration limit”) เว้นแต่จะได้รับความเห็นชอบจากสำนักงานโดยกองทุนอื่นนั้นต้องเป็นของกองทุนที่จัดตั้งขึ้นใหม่ มีขนาด
เงื่อนไขของตราสาร เป็น พิจารณาที่ Credit rating เท่านั้น กล่าวคือกรณีที่เป็นตราสาร investment grade ให้ company limit ไม่เกินร้อยละ 15 ของ NAV2 และ
Portfolio Management) นั้น ต้องพิจารณาตามหลักเกณฑ์การลงทุน ตามประกาศที่ ทน. 87/2558 ในเรื่องอื่นๆ ด้วย เช่น Product limit หรือ net exposure ด้วย เป็นต้น หมายเหตุ: (ปรับปรุง
listed fund โดยมี single entity limit เช่นเดียวกับการลงทุนใน listed securities3 ทั่วไป 2.1.3 หน่วย private equity