กล่าวสามารถจ่ายไปยังสมาชิกของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพในอดีต (ปี 2548)ได้หรือไม่ คำตอบ: เนื่องจากไม่ได้มีการกำหนดเกณฑ์เกี่ยวกับการ set aside ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ยิ่งผู้ประกอบธุรกิจที่ได้มีการระดมทุนผ่านตราสารหนี้ที่มีความเสี่ยงสูง (“high yield bond”) อาจทำให้ผู้ประกอบธุรกิจขาดสภาพคล่อง และมีความเสี่ยงที่จะไม่สามารถชำระหนี้หรือไม่สามารถดำเนินกิจการต่อ
ทธิฯ จาก ตลท. ได้หรือไม่ คำตอบ : สามารถทำได้ แต่ใบสำคัญแสดงสิทธิฯ จะไม่สามารถบังคับได้เพราะหนี้ระงับลงแล้วด้วยเหตุเกลื่อนกลืนกัน ทั้งนี้ ไม่
>ตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย("ตลท.") และบริษัทตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้า(ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ("TFEX")มีนโยบายที่จะเพิ่มสภาพคล่องของสินค้าใน ตลท. และ TFEX โดยส่งเสริมให้มีผู้ดูแลสภาพคล่อง (market
ถึง ETF ที่มีนโยบายสร้างผลตอบแทนตามความเคลื่อนไหวของดัชนีหลักทรัพย์ ดัชนีดังกล่าวต้องเป็น SET Index, SET50 Index, SET100 Index หรือ Index ที่ SET กำหนดให้เป็น underlying ของ DW ได้ ดังนั้น MSCI
มีใบอนุญาต SBL (เอกสาร) บล. ที่เป็นสมาชิก ตลท. (ระบบ BRS2) บล.ที่ไม่เป็นสมาชิก ตลท. (ระบบ BRS2)  
โดยสภาพไม่สามารทำการหักกลบลบหนี้กับคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง(set-off) ชำระเงินหรือส่วนต่างของราคาสินค้า(settle by cash) หรือสร้างฐานะในทางตรงข้ามเพื่อลบล้างหน้าที่การส่งมอบได้ ตามประกาศที่ กย. 4/2547 ข้อ 2(3
ประเทศไทย อย่างไรก็ดี การอ้างอิงหลักทรัพย์ไทยที่เป็นดัชนีหุ้นของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET INDEX) อาจมีประเด็นพิจารณาด้านกฎหมายลิขสิทธิ์ได้ หมายเหตุ : (ปรับปรุง
หนี้ที่ผู้ออกอยู่ระหว่างการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (“restructured bond”) เป็นต้น 1.2 รองรับ distressed bond ที่แปรสภาพมาจากตราสารหนี้ที่มีความเสี่ยงสูง (high yield bond) ของกองทุน
;นอกจากนี้ ถ้าลูกหนี้มีหนี้ที่จะเรียกร้องจากผู้โอนได้ด้วย ก็ใช้วิธีการหักกลบลบหนี้แทนการชำระหนี้ตามตั๋วก็ได้ (ผู้รับโอนมี set-off risk) แต่ถ้าผู้ออกตั๋วยินยอมด้วยกับการโอน