สำนักงานขอเรียนว่า หลักการดังกล่าว มีวัตถุประสงค์เพื่อไม่ให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมีอำนาจในการจัดการโดยไม่จำกัดและเป็มามาตรฐานสากลของการกำกับดูแลกิจการ (“Governance”) ที่ดี ซึ่ง Governance เป็นหนึ่งใน
(Corporate Governance Report of Thai Listed Companies : โครงการ CGR) ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (“IOD”) อย่างต่อเนื่อง (สาระสำคัญของโครงการ CGR ปรากฏตามสิ่งที่ส่งมาด้วย 1) โดยโครงการดัง
จัดการลงทุนใน fact sheet เช่น มุ่งหวังให้ผลประกอบการเคลื่อนไหวตามดัชนีชี้วัด (passive management / index tracking)/มุ่งหวังให้ผลประกอบการสูงกว่าดัชนีชี้วัด (active management) เป็นต้น  
active management ซึ่งบริษัทจัดการสามารถปรับเปลี่ยนการลงทุนได้ตลอดเวลา 4เป็นวันที่สำนักงานมีหนังสือเวียนที่ กลต.น.(ว) 31/2550 กำหนดกรอบประเทศที่กองทุนจะสามารถลงทุนในหน่วยลงทุน
ลงทุนสำหรับผู้ลงทุนสถาบัน (Investment Governance Code for Institutional Investors) ลงวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2560 เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเปิดเผยการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลการลงทุนสำหรับผู้ลงทุน
เสริมสร้างให้เกิดการลงทุนด้วยความรับผิดชอบของผู้ลงทุน และผลักดันให้บริษัทจดทะเบียนผนวกเรื่องการคํานึงถึงการดําเนินการด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล Environmental Social and Governance (“ESG
ฉบับเดิมที่ใช้บังคับก่อนหน้าอย่างมีนัยสำคัญประกอบไปด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่ 1. เพิ่มหลักในการกำกับดูแลและบริหารจัดการเทคโนโลยีระดับองค์กรที่ดี (IT governance) 2. เพิ่มหลักในการ
ผลิตภัณฑ์กองทุนรวม (product governance) ข้อ 3 เพื่อให้การจัดโครงสร้างการบริหารจัดการและระบบงานที่เกี่ยวข้องกับการออกและเสนอขายผลิตภัณฑ์กองทุนรวมเป็นไปอย่างเหมาะสมและเพียงพออย่างมี
อย่างมีประสิทธิภาพและตรงจุดมากกว่า เช่น การทำให้กลุ่มธุรกิจการเงินมีการกำกับดูแลกิจการที่ดี (good corporate governance) ให้บริการแก่ลูกค้าด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ด้วยความเอาใจใส่และระมัดระวังตามมาตรฐาน
ดังกล่าวได้แก่เรื่องดังต่อไปนี้ (1) หมวดที่ 1 การกำกับดูแลและบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศระดับองค์กรที่ดี (governance of enterprise IT)