ลงทุน เป็นต้น 3.2 ไม่ทำ KYC/CDD หรือ suitability test ให้ครบถ้วนอย่างมีนัยสำคัญ หรือไม่ทำ KYC/CDD ในเชิงลึกให้ปรากฏผู้รับประโยชน์ที่แท้จริง ทั้งที่ทราบหรือมีเหตุสงสัยให้
ภาพถ่ายประกาศที่ ทธ.28/2555 ซึ่งสรุปสาระสำคัญของประกาศได้ดังนี้ 1. ผู้จัดจำหน่ายหลักทรัพย์ต้องจัดทำ suitability test กับผู้ลงทุน เพื่อให้สามารถเสนอขายหลักทรัพย์ได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับ
>วันที่ตอบ : 03/03/2563 คำถาม : 1. การเปิดบัญชีซื้อเก็บหน่วยลงทุนในนามของผู้เยาว์สามารถทำได้หรือไม่ 2. ผู้ใดควรเป็นคนทำ suitability
ผู้รับดำเนินการในงานที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจ (outsource) ซึ่ง บลจ. มีหน้าที่กำกับดูแล (supervise) บุคคลภายนอกดังกล่าวปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดเกี่ยวกับงานที่รับมอบหมายด้วย 2
ทรัพย์ (suitability analysis) รับคำสั่งซื้อขายหลักทรัพย์จากลูกค้า ให้คำแนะนำในการซื้อขายหลักทรัพย์ ตลอดจนเป็นผู้ทำหน้าที่ในการรับทรัพย์สิน จัดการหรือเก็บรักษาทรัพย์สินของลูกค้าเอง เว้นแต่จะได้ปฏิบัติตาม
ให้เป็นไปตามผล suitability test หรือ basic asset allocation มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ประกอบธุรกิจมีระบบงานในการให้คำแนะนำที่สอดคล้องกับผล suitability test ของลูกค้าทั้งนี้ กรณีที่เป็นการให้บริการในรูป
/> 3. การประเมินความเหมาะสมในการลงทุนหรือการทำธุรกรรมในผลิตภัณฑ์ในตลาดทุน ("suitability test") และการให้คำแนะนำเบื้องต้นเพื่อให้ลูกค้าเข้าใจความสำคัญใน
ความสะดวกให้แก่ลูกค้าระดับหนึ่ง หากลูกค้าร้องขอข้อมูลที่ลูกค้าเคยให้ไว้กับผู้ประกอบการเพื่อประเมินความเหมาะสมในการลงทุน เช่น suitability test หรือข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการทำธุรกรรมของตน เช่น รายการซื้อขาย
เปิดบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ ทั้งนี้ บริษัทหลักทรัพย์จะทำหน้าที่เป็นผู้ติดต่อลูกค้า รวมทั้งวิเคราะห์ฐานะความเหมาะสม (suitability) และอนุมัติการเปิดบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ให้แก่ลูกค้าได้หรือไม่และการดำเนิน
หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการติดต่อและให้บริการแก่ลูกค้า (เช่น ข้อกำหนดเกี่ยวกับการทำ KYC การทำ suitability test เป็นต้น) ตามประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทธ. 35/2556 เรื่อง มาตรฐานการประกอบธุรกิจ โครงสร้าง