มาตรา 1 พระราชกำหนดนี้เรียกว่า “พระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561”
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550”
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530”
พระราชกำหนดนี้เรียกว่า “พระราชกำหนดนิติบุคคลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ พ.ศ. 2550”
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535”
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546”
ให้คณะกรรมการ ก.ล.ต. มีอำนาจประกาศกำหนดให้การประกอบกิจการในลักษณะใดลักษณะหนึ่งไม่เป็นธุรกิจหลักทรัพย์ตามพระราชบัญญัตินี้ [5]
เพื่อให้การกำกับดูแลการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์เหมาะสมกับรูปแบบการประกอบธุรกิจและได้สัดส่วนกับความจำเป็นในการคุ้มครองผู้ลงทุน คณะกรรมการ ก.ล.ต. อาจประกาศกำหนดให้ผู้รับใบอนุญาตที่ประกอบธุรกิจในลักษณะตามที่กำหนดได้รับยกเว้นการปฏิบัติหรือปฏิบัติแตกต่างไปจากบทบัญญัติในส่วนที่ 2 การกำกับและควบคุม ของหมวดนี้ ทั้งหมดหรือแต่เพียงบางส่วนก็ได้ [5] ให้คณะกรรมการ ก.ล.ต. มีอำนาจประกาศกำหนดหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขใด ๆ ให้ผู้รับใบอนุญาตตามวรรคหนึ่งถือปฏิบัติด้วยก็ได้
ในการจัดการกองทุนรวม ให้บริษัทหลักทรัพย์จัดการด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและระมัดระวังรักษาประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุนทั้งปวง โดยใช้ความรู้ความสามารถเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ [5] ให้บริษัทหลักทรัพย์จัดให้มีนโยบายการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในการจัดการกองทุนรวม รวมทั้งติดตามดูแลการกระทำที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนและการกระทำที่อาจมีลักษณะไม่เป็นธรรมต่อผู้ถือหน่วยลงทุนหรืออาจทำให้ผู้ถือหน่วยลงทุนเสียประโยชน์อันพึงได้รับ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการท...
/> (1) การเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดเกี่ยวกับการขายและการรับซื้อคืนหน่วยลงทุน (2) การเพิ่มชนิดหน่วยลงทุนที่ไม่ทำให้สิทธิที่ผู้ถือหน่วยลงทุนมีอยู่เดิมด้อยลง (3) การดำเนินการเพื่อให้