สำนักงานขอเรียนว่า หลักการดังกล่าว มีวัตถุประสงค์เพื่อไม่ให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมีอำนาจในการจัดการโดยไม่จำกัดและเป็มามาตรฐานสากลของการกำกับดูแลกิจการ (“Governance”) ที่ดี ซึ่ง Governance เป็นหนึ่งใน
ปัจจุบันข้อกำหนดของสำนักงานในส่วนที่เกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลในรายงานการวิเคราะห์หลักทรัพย์กำหนดให้ต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสีย และชื่อผู้ติดต่อกับผู้ลงทุนไว้ในรายงานการวิเคราะห์หลักทรัพย์ อย่างไรก็
อย่างมีธรรมาภิบาลตามแนวทางสากล อันจะเป็นการสร้างความน่าเชื่อถือและเป็นการแสดงความพร้อมของผู้ประกอบธุรกิจในฐานะผู้ลงทุนสถาบันของไทยในการปฏิบัติหน้าที่บริหารจัดการลงทุนด้วยความรับผิดชอบ
เสริมสร้างให้เกิดการลงทุนด้วยความรับผิดชอบของผู้ลงทุน และผลักดันให้บริษัทจดทะเบียนผนวกเรื่องการคํานึงถึงการดําเนินการด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล Environmental Social and Governance (“ESG
ฉบับเดิมที่ใช้บังคับก่อนหน้าอย่างมีนัยสำคัญประกอบไปด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่ 1. เพิ่มหลักในการกำกับดูแลและบริหารจัดการเทคโนโลยีระดับองค์กรที่ดี (IT governance) 2. เพิ่มหลักในการ
ผู้ลงทุนเป็นสำคัญ ____________________ อาศัยอำนาจตามความในข้อ 5(1) แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทธ. 35/2556 เรื่อง มาตรฐานการประกอบธุรกิจ
อาจเกิดขึ้นในการประกอบธุรกิจ ซึ่งอาจมีความเป็นไปได้ที่การดำเนินงานของผู้ประกอบธุรกิจอาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ของลูกค้าเป็นสำคัญ อย่างไรก็ดี ที่ผ่านมา
ตลาดหลักทรัพย์ ที่ สธ. 37/2559 เรื่อง ข้อกำหนดในรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ลงวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2559 (ประกาศที่ สธ. 37/2559) กำหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจต้องจัดให้มีนโยบาย มาตรการ และระบบ
บาลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์กองทุนรวม (Product Governance) นั้น เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามข้อกำหนดข้างต้นของบริษัทจัดการกองทุนรวม สำนักงานโดยอาศัยอำนาจตามข้อ 5(3
; สำนักงานขอเรียนว่า การประเมินบรรษัทภิบาลของประเทศต่าง ๆ นั้น ส่วนใหญ่จะใช้วิธี สำรวจข้อมูลในเชิงเปรียบเทียบ โดยอาศัยข้อมูลที่บริษัทเปิดเผยในรายงานประจำปี (แบบ 56-2) สำนักงานจึง ประสงค์จะให้