หลักดังกล่าว เพื่อให้การสร้างคุณค่ากิจการอย่างยั่งยืนแทรกเป็นเนื้อเดียวกับการประกอบธุรกิจ โดยคณะกรรมการควรดูแลให้การกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมายทางธุรกิจนั้น ผ่านการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม การวิเคราะห์ความ
องค์กรเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้ธุรกิจปรับตัว เติบโต และสร้างคุณค่าให้แก่กิจการควบคู่ไปกับผู้มีส่วนได้เสียและสังคมโดยรวม ดังนั้น สำนักงานจึงเห็นความสำคัญที่จะออก "หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี สำหรับ
-2567 โดยแผนองค์กร นวัตกรรมยังคงเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้สำนักงานสามารถทุ่มเทสรรพกำลังและทรัพยากรในการขับเคลื่อน ผลักดัน ภารกิจให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ดังต่อไปนี้ 3 แนวทางการกำหนดตัวชี้วัด (KPIs) ของโครงการภายใต้
ที่จะม ี ผลบังคับใช้) และกำหนดให้เป็นหน้ที่ของทุกบริษัทตั้งแต่เดือนมกรคม ปี พ.ศ. 2565 แบบฟอร์มดังกล่วกำหนดให้บริษัทจดทะเบียนต้องเปิดเผยข้อมูลกรดำเนิน งนในประเด็นด้นสิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบลตลอด
เติบโตอยู่รอดได้ในระยะยาวด้วย ดังนั้น คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์จึงได้ออก หลักการกากับดูแลกิจการที่ดี หรือ Corporate Governance Code (CG Code) ฉบับนี้ เพื่อเป็นหลักปฏิบัติ ให้คณะกรรมกา
หากบริษัทหลักทรัพย์มีการดำเนินการตามหลักเกณฑ์ข้างต้นแล้ว เอกสารดังกล่าวก็สามารถรับฟังได้ตามที่กฎหมายกำหนด 2. กรณีสัญญามอบหมายให้ทำการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ ซึ่งบริษัทหลักทรัพย์จะจัด
กำหนดไว้ในสัญญามอบหมาย (3) ซื้อหรือขายทรัพย์สินในนามของตนเองให้แก่ผู้มอบหมายโดยไม่ได้แจ้งให้ทราบล่วงหน้า (4) ให้คำรับรองแก่ผู้มอบหมายว่าจะมีกำไรหรือผลตอบแทนในอัตราที่แน่นอน (5) กระทำการอื่นใดที่อาจก่อให้
ทราบเพื่อดำเนินการให้บริษัทปฏิบัติให้ถูกต้อง เนื่องจากคณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่ดูแลการทำรายการที่เกี่ยวโยงกันให้เป็นไปตามข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ เลขานุการบริษัทอาจแจ้งข้อมูลดังกล่าวต่อสำนักงาน
. 2554 เพื่อให้ผู้ประกอบธุรกิจมีความเข้าใจที่ตรงกันและถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ประกาศ กำหนดได้อย่างถูกต้อง สำนักงานจึงขอซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับประกาศและวิธีปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1
ความชำนาญในด้านใดเป็นพิเศษ A: กำหนดเพียงหน้าที่และความรับผิดของเลขานุการบริษัทเท่านั้น มิได้กำหนดคุณสมบัติไว้ ดังนั้น การแต่งตั้งเลขานุการบริษัทจึงขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการบริษัทที่จะคัดเลือก