เนื่องจากสินทรัพย์ดิจิทัลถูกสร้างขึ้นโดยอาศัยเทคโนโลยีบล็อกเชน (blockchain) และมีวิธีการเก็บรักษาที่แตกต่างจากทรัพย์สินประเภทอื่น โดยจะต้องเก็บรักษาไว้ที่กระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet) ประกอบกับ
ทำอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล โดยกำหนดบทนิยามเช่นเดียวกับพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 เพื่อให้เกิดความชัดเจนทั้งในด้านผู้ประกอบธุรกิจและผู้ที่เกี่ยวข้อง รวม
ก.ล.ต. เปิดรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับการกำหนดคุณสมบัติของผู้ลงทุนในคริปโทเคอร์เรนซี และกำหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจต้องทดสอบความรู้ (Knowledge test) ของผู้ลงทุนก่อนการให้บริการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัล
หยุดประกอบธุรกิจตามที่ได้รับอนุญาต อันเป็นเหตุให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล อาจถูกเพิกถอนการอนุญาตประกอบธุรกิจ
จากการติดตามพัฒนาการตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลในช่วงที่ผ่านมา ก.ล.ต. พบว่าคริปโทเคอร์เรนซีส่วนใหญ่ไม่มีปัจจัยพื้นฐานหรือกิจการใด ๆ รองรับ การซื้อขายแลกเปลี่ยนในตลาดสินทรัพย์ดิจิทัล จึงมักเป็นเพียงการเก็ง
นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล เลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เข้าร่วมนำเสนอความเห็นเกี่ยวกับพัฒนาการสินทรัพย์ดิจิทัลในงานสัมมนานานาชาติ Future Investment Initiative
เกิดความเสียหายแก่ประชาชน ซึ่งคณะกรรมการ ก.ล.ต. ในการประชุมเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ได้อาศัยอำนาจตามมาตรา 35 วรรคสองแห่งพระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 (พ.ร.ก. สินทรัพย์ดิจิทัลฯ
ตามที่สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้มีหนังสือไปยัง Huobi ซึ่งเป็นผู้ประกอบธุรกิจศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล (Digital Asset Exchange) ให้ระงับการให้บริการชั่วคราว และ
ก.ล.ต. มีนโยบายที่จะยกระดับการกำกับดูแลผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (ผู้ประกอบธุรกิจ) ซึ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพและความน่าเชื่อถือของผู้ประกอบธุรกิจด้านการคุ้มครองผู้ซื้อขายอย่างต่อเนื่อง โดยให้
สืบเนื่องจากการที่สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้เข้าตรวจสอบ Huobi ซึ่งเป็นผู้ประกอบธุรกิจศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล (digital asset exchange) ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์