ภายใต้สถานการณ์ตลาดตราสารหนี้ไทยที่อยู่ในภาวะอัตราดอกเบี้ยต่ำเป็นเวลานาน ผู้ออกตราสารหนี้หลายราย จึงเสนอขายหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุนที่มีความเสี่ยงและซับซ้อนมากกว่าหุ้นกู้ทั่วไปเพื่อให้ผลตอบแทนสูงขึ้น โดยตั้งแต่ปี 2555 จนถึงเดือนมิถุนายน 2563 พบมีการออกหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุนรวม 1.19 แสนล้านบาท ขณะที่ผู้ลงทุนส่วนใหญ่เป็นผู้ลงทุนรายย่อยประมาณร้อยละ 81 และผู้ลงทุนรายใหญ่ (high net worth : HNW) ประมาณร้อยละ 6 สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) จึงมี...
-decoration: underline;">ที่ กลต.นธ.(ว) 33 /2563 เรื่อง ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการให้คำแนะนำแก่ผู้ลงทุนในหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน (perpetual subordinated bond) ด้วยหุ้นกู้ด้อย
>ที่ กลต.จต.(ว) 47/2563 เรื่อง ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการเพิ่มทางเลือกในการใช้บริการผู้ดูแลผลประโยชน์ของคู่สัญญา (escrow agent) เพื่อเก็บรักษาหรือดูแลทรัพย์สินของ
="text-decoration: underline;">(selling agent)ตามที่สำนักงานได้ออกประกาศสำนักงานที่ สธ. 1/2552 เรื่อง หลักเกณฑ์สำหรับตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าในการใช้บริการด้านผู้ติดต่อกับ
แบบรับทราบความเสี่ยง (perpetual bond)
แบบรับทราบความเสี่ยง (ตราสารหนี้ด้อยสิทธิคล้ายทุน: subordinated perpetual bond)
เฉลยแบบทดสอบความรู้ผู้ลงทุนเกี่ยวกับ subordinated perpetual bond (“หุ้นกู้ด้อยสิทธิฯ”) (ฉบับปรับปรุง)
นำส่งสำเนาประกาศเกี่ยวกับแนวทางการกำกับดูแลตราสารหนี้ด้อยสิทธิคล้ายทุน (subordinated perpetual bond)